ความแตกฉานด้านสุขภาพ ของผู้ป่ วยที่มารับบริการ ในโรงพยาบาลหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร ปี 2558 ไอศวรรย์ รักชาติ* , เสาวนันท์ บ าเรอราช** บทคัดย่อ การศึกษาครั ้งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความแตกฉานด้านสุขภาพระดับพื ้นฐานของผู้ป่ วยที่ เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเป็ นโรงพยาบาลชุมชน และเพื่อ เปรียบเทียบผลการศึกษาของบังอรศรีจินดาวงค์ ที่เคยใช้เครื่องมือนี ้ทดสอบในแผนกผู้ป่ วยในของ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่นซึ่งเป็ นโรงพยาบาลศูนย์ โดยใช้ แบบทดสอบการอ่าน (REALM) และแบบทดสอบความเข้าใจในการอ่าน (STOFHLA) ซึ่งได้แปลและประยุกต์จาก แบบทดสอบต้นฉบับที่เป็ นภาษาอังกฤษ การวิจัยครั ้งนี ้เป็ นการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บ ข้อมูลภาคตัดขวาง (Cross-sectional Study) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่ วยที่มารับบริการอายุ 15 ปี ขึ ้นไป จ านวน 384 ราย ที่แผนกผู้ป่ วยใน โรงพยาบาลหว้านใหญ่ จังหวัด มุกดาหาร ที่สามารถอ่านออก เขียนได้ ค านวณประมาณขนาดตัวอย่างโดยวิธีสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็ น จ านวนตัวอย่างที่ศึกษา จ านวน 384 ราย ส่วนใหญ่ เป็ นเพศหญิง ร้ อยละ 56.3 ร้ อยละ 42.4ของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในช่วงอายุ 65 ปี ขึ ้นไป การศึกษาส่วนใหญ่ระดับประถมศึกษาร้อยละ 53.6 และอาชีพส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ร้ อยละ 49.0 กลุ่มตัวอย่างมีระดับความแตกฉานด้าน สุขภาพในการอ่านและความเข้าใจในการอ่านอยู่ในระดับเพียงพอที่ระดับคะแนน 61-66 (54.4%), 23-26 (99.7%) ตามล าดับแบบทดสอบการอ่านมีความสอดคล้องกับคะแนนจากแบบทดสอบความ เข้าใจในระดับปานกลางอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ(p<0.05) ส่วนในกรณี Best case และ Worst case จากการศึกษาครั ้งนี ้ มีค่า 0.214 และ 0.203 (Pearson’s correlation) ตามล าดับ แบบทดสอบทั ้งสองมีความสอดคล้องในระดับน้อยทั ้ง 2 กรณีดังนั ้น ควรมีการพัฒนา เครื่องมือให้สอดคล้องกับพื ้นที่ก่อน าไปใช้ และปรับปรุงให้เป็ นแบบคัดกรองความแตกฉานด้าน สุขภาพเป็ นรายกรณีโรคที่เป็ นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมป้ องกันโรค อีกทางหนึ่งที่ส าคัญที่สุดเพื่อเกิดผลดีต่อการดูแลรักษา
Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 3323 ครั้ง