การประเมินผลการดา เนินงานโครงการชมรมค้มุ ครองผู้บริโภค
(อย.น้อย) ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้ CIPP MODEL
พรเพ็ญ ศรีสุชล*
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านบริบท ปัจจัยนาเข้ากระบวนการ และ
ผลผลิตในการดาเนินงานโครงการ ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค (อย. น้อย) โดยใช้รูปแบบการประเมิน
แบบซิปป์ (Cipp Model) ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้ CIPP modelกลุ่มตัวอย่าง จานวน 294 คน
ประกอบด้วย ครู นักเรียนแกนนา และนักเรียนเครือข่าย จากโรงเรียนมัธยมศึกษา ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
แบบสอบถามที่ใช้ คือ แบบประเมินแบบผลการดาเนินโครงการชมรมคุ้มครองผู้บริโภค (อย.น้อย)
และแบบสัมภาษณ์ผลการดาเนินโครงการ อย.น้อย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการหาค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.)
ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพรวมการดาเนินงานโครงการ อย.น้อย ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
มีผลการดาเนินโครงการอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านผลผลิต ( X =4.42)
รองลงมา ด้านบริบท ( X =4.26) ด้านปัจจัยนาเข้า ( X =4.19) ด้านกระบวนการ ( X =4.17)และด้าน
ที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านปัจจัยนาเข้า ( X =4.15) ตามลาดับ และในกลุ่มที่ผ่านการประเมิน
ระดับดีเยี่ยมมีผลการดาเนินงานโครงการชมรมคุ้มครองผู้บริโภค (อย.น้อย) ในระดับดีมาก ( X =
4.70) และกลุ่มที่ยังไม่ผ่านระดับดีเยี่ยมมีผลการดาเนินงานโครงการชมรมคุ้มครองผู้บริโภค
(อย.น้อย) ในระดับดี ( X =3.92) ความสาเร็จของการดาเนินงานโครงการชมรมคุ้มครองผู้บริโภค
(อย.น้อย) เกิดมาจากการที่โรงเรียนมีกิจกรรมและโครงการจานวนมากที่เกี่ยวกับการคุ้มครอง
ผู้บริโภค และการมีส่วนของครู นักเรียนแกนนาและสมาชิกของชมรม
คำ สำ คัญ: โครงการชมรมคุ้มครองผู้บริโภค (อย.น้อย) ซิปโมเดล
* สานักงานสารธารณสุขสุราษฎร์ธานี
Corresponding author: Pornpen Srisuchon. Email: kungvad12@gmail.com
Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 1922 ครั้ง