บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสารวจเพื่อประเมินการรับสัมผัสจุลินทรีย์ก่อโรคในการบริโภคน้าดื่มจากตู้น้าดื่มหยอดเหรียญ โดยทาการเก็บตัวอย่างน้าก่อนเข้าตู้และน้าดื่มจากตู้น้าดื่มหยอดเหรียญ จานวน 70 ตู้สารวจสุขลักษณะและการบารุงรักษาตู้น้าดื่มหยอดเหรียญ โดยใช้แบบสอบถามสาหรับผู้ประกอบการ/ผู้ดูแลตู้น้าดื่มหยอดเหรียญ ที่ติดตั้งอยู่บริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ม.ใหม่) อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในรัศมี 500 เมตร ผลการศึกษาพบว่า ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้าดื่มจากตู้น้าดื่มหยอดเหรียญเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานน้าบริโภค พบว่าคุณภาพน้าทางกายภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานทุกพารามิเตอร์ คุณภาพน้าทางเคมี และชีวภาพไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 1.43 และ 92.86 ตามลาดับ ผลการทดสอบทางสถิติไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างสุขลักษณะและการบารุงรักษาตู้น้าดื่มหยอดเหรียญกับคุณภาพน้าดื่มจากตู้น้าดื่มหยอดเหรียญอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) จากการประเมินการรับสัมผัสจุลินทรีย์พบว่า ความน่าจะเป็นในการสัมผัสกับจุลินทรีย์ E.coli จากการบริโภคน้าดื่มจากตู้น้าดื่มหยอดเหรียญปริมาณ 2 ลิตร/วัน คิดเป็นร้อยละ 16.7 ความน่าจะเป็นในการเจ็บป่วยจากจุลินทรีย์ที่สัมผัส คิดเป็นร้อยละ 0.208 และความเสี่ยงของการเจ็บป่วยจากการสัมผัสจากจุลินทรีย์ คิดเป็นร้อยละ 0.113 ความน่าจะเป็นในการเจ็บป่วยจากจุลินทรีย์ที่สัมผัส คิดเป็นร้อยละ 0.002 และความเสี่ยงของการเจ็บป่วยจากการสัมผัสจากจุลินทรีย์ คิดเป็นร้อยละ 0.0003 ดังนั้นค่าประมาณความเสี่ยงของความน่าจะเป็นในการสัมผัสกับจุลินทรีย์ S.aureus ในน้าดื่มจากตู้น้าดื่มหยอดเหรียญอยู่ในระดับต่ามาก
คำสำคัญ: การประเมินการรับสัมผัส จุลินทรีย์ก่อโรค ตู้น้าดื่มหยอดเหรียญ
Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 2418 ครั้ง