วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ISSN 3027-8082 (Print)
ISSN 3027-8104 (Online)

วารสารการพัฒนาชุมชน

ปีที่ 5 ฉบับที่ 7
img
บทคัดย่อ การวิจัยเชิงการวิเคราะห์เอกสารแบบย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจการได้รับความรุนแรงของเด็กหญิงและสตรี จังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ แบบบันทึกข้อมูลการช่วยเหลือเด็กหญิงและสตรี ที่เข้ารับบริการศูนย์พึ่งได้ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างปี พ.ศ.2556ii– 2559 จานวน 360 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า ในปี พ.ศ.2556 - 2559 กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 19.46, 23.96, 25.1 และ 27.9 ตามลาดับ โดยส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด ในปี พ.ศ.2556 และ 2559 พบสถานที่เกิดเหตุการณ์คือบ้านผู้รับบริการ ร้อยละ 31.6 และ 32.2 ส่วนปี พ.ศ. 2557 และ 2558 สถานที่เกิดเหตุการณ์คือบ้านผู้กระทา ร้อยละ 37.2 และ 31.8 สาหรับความสัมพันธ์กับผู้ถูกกระทา ในปี พ.ศ. 2556 และ 2557 พบผู้กระทาเป็นแฟน ร้อยละ 36.3 และ 36.5 ส่วนปี พ.ศ. 2558 และ 2559 พบผู้กระทาเป็นสามี ร้อยละ 35.7 และ 33.8 โดยปัจจัยที่กระตุ้นให้การทาความรุนแรง ในปี พ.ศ. 2556 คือ การใกล้ชิด/โอกาสอานวย ร้อยละ 53.4 ในปี พ.ศ.2557 - 2559 คือ การทะเลาะวิวาท ร้อยละ 42.5, 35.7, 49.2 ปี พ.ศ. 2556 - 2559 พบลักษณะการกระทาความรุนแรงทางกายเป็นการใช้กาลัง ร้อยละ 73, 53.6, 58.2 และ 62.1 ตามลาดับ สาหรับลักษณะการกระทาความรุนแรงทางเพศ ในปี พ.ศ.2556 - 2559 เป็นการกระทาชาเรา ร้อยละ 95.2, 95.6, 93.1 และ 95.2 ตามลาดับ ส่วนลักษณะการกระทาความรุนแรงทางจิตใจ พบว่า ในปี พ.ศ.2556 เป็นการปฏิเสธดูถูกเหยียดหยามทาให้ไม่มีคุณค่า ร้อยละ 1.2 ในปี พ.ศ.2557 และ 2558 เป็นการข่มขู่ทาให้หวาดกลัว ร้อยละ 4.1 และ 1.4 ในปี พ.ศ.2559 คือ เฉยเมยไม่สนใจ ร้อยละ 36.0 จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่าการได้รับความรุนแรงทางร่างกายมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในแต่ ละปี สาหรับความรุนแรงทางเพศนั้นมีแนวโน้มลดลงมาเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2557 จนถึงปี พ.ศ.2559 ส่วนการได้รับความรุนทางจิตใจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในแต่ละปี แต่มีแนวโน้มลดลงในปี พ.ศ. 2559 คำสำคัญ: ความรุนแรงในครอบครัว เด็กหญิง สตรี

Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 2986 ครั้ง


ติดต่อเรา





เว็บไซต์ที่น่าสนใจ




Flag Counter



2019