วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ISSN 3027-8082 (Print)
ISSN 3027-8104 (Online)

วารสารการพัฒนาชุมชน

ปีที่ 6 ฉบับที่ 9
img
บทคดัย่อ การวิจยัครัง้นมี้ีวตัถปุระสงค์เพื่อศึกษา สดัสว่นพฤติกรรมของประชาชนที่บริโภคลกูจนัทน์ และศึกษาระดบัความรู้ของประชาชนทวั่ไปในเขตสถานีอนามยัเฉลิมพระเกียรติฯนิคมล าตะคอง ต าบลหนองสาหร่าย อ าเภอปากช่อง จังหวดันครราชสีมา การวิจยัครัง้นีเ้ป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) กล่มุตวัอย่างเป็น ประชากรที่มีอายุ 18 ปีขนึ้ไปที่มีชื่ออย่ใูนฐานข้อมูล และ อาศยัอย่จูริง ใช้การสมุ่อย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling) ได้ขนาดกลมุ่ตวัอย่างทงั้สนิ้ 461 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามชนิดตอบเอง ซึ่งผ้วูิจยัพฒันาขนึ้ ตรวจสอบความตรง ของเนอื้หา Content validity โดยน าเสนอผ้เูชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงของเนือ้หาเลือกเฉพาะข้อ ที่มีคา่ IOC มากกวา่ 0.5 ความเที่ยงตรงของเครื่องมือ (Reliability) จ านวน 30 ชดุ ได้ค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนแบค (Cronbach’s alpha coefficient) ของระดบัความรู้เท่ากบั 0.9 วิเคราะห์ ข้อมลูโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สว่นเบี่ยงเบนมาตรฐาน สว่นสถิติเชิง อนมุานใช้ไคสแควร์ กลมุ่ตวัอย่างตอบแบบสอบถามกลบั 450 คน คิดเป็น ร้อยละ 97.6 สว่นใหญ่เป็นผ้หูญิง ร้อยละ 53.4 มีอายเุฉลี่ย 27.2 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 17,473.5 บาท มีผ้เูคยใช้ลกูจนัทน์ ร้อยละ 79.4 แตกต่างกนัระหว่างชายและหญิง (p<0.01) โดยหญิงใช้ร้อยละ 83.6 มากกว่าชายใช้ร้อยละ 74.5 วยัผ้ใูหญ่ใช้ใกล้เคียงกับเยาวชน (p>0.05) โดยผ้ใูหญ่ใช้ร้อยละ 79.2 มากกว่าเยาวชนใช้ ร้อยละ 79.6 กล่มุตวัอย่างที่มีการศึกษาสงูใช้มากกว่ากล่มุตัวอย่างที่มีการศึกษาต ่ากว่าแต่ไม่มี นยัส าคัญทางสถิติ (p>0.05) โดยกล่มุตวัอย่างที่มีการศึกษามธัยมศึกษาขึน้ไปใช้ร้อยละ 80.4 มากกวา่กลมุ่ตวัอยา่งที่มีการศึกษาประถมศึกษาและต ่ากว่าใช้ร้อยละ 75.3 กลมุ่ตวัอย่างใช้ในรอบ 1 ปีที่ผา่นมา ร้อยละ 46.8 ใช้ในรอบ 1 เดือนที่ผา่นมา ร้อยละ 46.2 แม้ลกูจันทน์จะได้รับความนิยมบริโภคแต่พบว่าระดบัความรู้ของผ้บูริโภคมีไม่มากนกัจึง ควรพิจารณาให้สขุศกึษากบัประชาชนให้มีความรู้ที่ถกูต้องและพ้นจากการบริโภคลกูจนัทน์ในทางที่ผิด

Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 830 ครั้ง


ติดต่อเรา





เว็บไซต์ที่น่าสนใจ




Flag Counter



2019