บทคัดย่อ การศึกษาในครั ้งนี ้เป็ นการศึกษาแบบกึ่งทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้เบาะรอง นั่งเพื่อลดอาการเมื่อยล้าจากการนั่งท างานของผู้ปฏิบัติงานในแผนกซักฟอกในส่วนของการพับผ้าใน โรงพยาบาลชุมชนในเขตพื ้นที่จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จ านวน 52 คน ได้รับการประเมินท่าทางการท างานด้วยวิธีการ RULA การให้ความรู้ เกี่ยวกับการนั่ง ท างานด้วยท่าทางที่ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์และการเจาะเลือดเพื่อน าค่ากรดแลคติกในเลือดมา วิเคราะห์หาค่าความเข้มข้น 2 ครั ้ง โดยครั ้งที่ 1 เจาะเลือดน าค่ากรดแลคติกก่อนการนั่งท างานและ หลังการนั่งท างานติดต่อกัน 2ชั่วโมงก่อนการใช้เบาะรองนั่งและบันทึกผลลงในใบบันทึกผล หลังจาก นั ้นติดตามกลุ่มตัวอย่างน าเบาะรองนั่งและความรู้ เกี่ยวกับท่าทางการนั่งท างานที่ถูกต้องตาม หลักการยศาสตร์ไปปฏิบัติเป็ นเวลา 5 สัปดาห์ เมื่อครบก าหนดเวลา ท าการเจาะเลือดน าค่ากรดแล คติกในเลือดมาวิเคราะห์หาค่าความเข้มข้นครั ้งที่ 2 ก่อนการนั่งท างานและหลังการนั่งท างาน ติดต่อกัน 2ชั่วโมง หลังการใช้เบาะรองนั่งบันทึกผล แล้วน ามาเปรียบเทียบเพื่อดูค่าความแตกต่าง ระหว่างการน าเบาะรองนั่งมาใช้และประเมินความพึงพอใจของเบาะรองนั่ง การศึกษาพบว่าระดับ ความเข้มข้นของกรดแลคติกก่อนการใช้เบาะรองนั่ง มีค่ากรดแลคติกก่อนการนั่งท างานเฉลี่ย 1.04 ± .256 มิลลิโมลต่อลิตร หลังการนั่งท างานติดต่อกัน 2ชั่วโมง มีค่ากรดแลคติกเฉลี่ย 2.10 ± .199 มิลลิ โมลต่อลิตร หลังการใช้เบาะรองนั่ง มีค่ากรดแลคติกก่อนการนั่งท างานเฉลี่ย .98 ± .213 มิลลิโมลต่อ ลิตร หลังการนั่งท างานติดต่อกัน 2ชั่วโมง มีค่ากรดแลคติกเฉลี่ย 1.59 ± .205 มิลลิโมลต่อลิตร เมื่อ ท าการทดสอบความแตกต่างของระดับกรดแลคติกในเลือดก่อนการใช้เบาะและหลังการใช้เบาะรอง นั่ง โดยทดสอบค่า t (t-test) พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่า ระดับค่าความเข้มข้นของกรดแลคติกในเลือดก่อนการใช้เบาะรองนั่งมีค่าสูงกว่าความเข้มข้นของ กรดแลคติกในเลือดหลังการใช้เบาะรองนั่งและระดับความพึงพอใจของการใช้เบาะรองนั่งโดยภาพ รวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย 3.75
Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 1708 ครั้ง