วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ISSN 3027-8082 (Print)
ISSN 3027-8104 (Online)

วารสารการพัฒนาชุมชน

ปีที่ 6 ฉบับที่ 6
img
บทคัดย่อ การวิจยัครังนีเป็นการวิเคราะห์เอกสารแบบย้อนหลงั เพือศึกษาการใช้ยาเสพติดและการเข้า บําบดัรักษา และปัจจยัทีมีความสัมพนัธ์กบัการบําบดัซําของผู้ป่วยยาเสพติดทีโรงพยาบาลเจ้าพระยา ยมราช จังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างทีศึกษา คือ แบบรายงานการบําบดัรักษาผู้ใช้สารเสพติด (บสต.3) ของผ้เูข้ารับการบาํบดัรักษายาเสพติดทีคลินิกบําบดัฟืนฟูสมรรถภาพผ้ตูิดยาเสพติด กล่มุงาน จิตเวช โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จงัหวดัสพุรรณบรุี ระหว่างตลุาคม 2559 – กนัยายน 2560 จํานวน 95 ฉบบั นํามาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและใช้สถิติไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยยาเสพติดเป็นเพศชาย ร้อยละ 83.16 มีอายุเฉลีย 29.20 ปี สถานภาพโสด ร้อยละ 46.32 สําเร็จการศึกษาสงูสดุในระดบัประถมศึกษา ร้อยละ 50.53 ส่วนใหญ่มี อาชีพรับจ้าง ร้อยละ 73.68 มีอายุของการใช้ยาเสพติดครังแรกตํากว่า 20 ปี ร้อยละ 54.74 โดยอายุ ตําสดุของการเริมใช้ยาเสพติดครังแรก คือ 13 ปี ชนิดสารเสพติดทีใช้ครังแรกเป็นยาบ้า ร้อยละ 92.63 โดยสาเหตุสําคัญทีทําให้ใช้สารเสพติดครังแรกนันเป็นเพราะอยากลอง ร้อยละ 42.11 เหตุผลสําคัญ ทีเข้ารับการบําบดัรักษาเพราะเป็นการบงัคบับําบดัตาม พรบ. ร้อยละ 63.16 มีเพียงร้อยละ 4.21 ทีอยากเลิก ด้วยตนเอง สารเสพติดทีใช้ก่อนเข้ารับการรักษาส่วนใหญ่เป็นยาบ้า ร้อยละ 94.74 เสพโดยวิธีการสูบ ร้อยละ 92.63 ซงึมีการใช้ยาเสพติด 1-2 ครัง/สปัดาห์ ร้อยละ 73.68 โดยผ้ทูีเคยเข้ารับการบําบดัรักษา มาก่อน ร้อยละ 23.16 เคยเข้ารับการบําบดัรักษามากกว่าจํานวน 1 ครัง ถึงร้อยละ 72.73 รูปแบบและ วิธีการบําบดัรักษาเป็นรูปแบบบําบดัฟืนฟูแบบผู้ป่วยนอก ร้อยละ 83.16 ลักษณะของการเข้ารับการ บําบัดเป็นแบบบังคับบําบัด ร้อยละ 43.16 จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า ไม่มีปัจจัยทีมี ความสัมพันธ์กับการบําบัดซําของผู้ป่วยยาเสพติด ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าควรเฝ้าระวังการใช้ สารเสพติดในกล่มุทีเสียงต่อการใช้สารเสพติด เช่น กล่มุเด็กและเยาวชน กล่มุผ้ทูีมีลกัษณะการประกอบ อาชีพรับจ้าง และกล่มุผ้ทูีเคยติดยาเสพติดมาก่อน

Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 491 ครั้ง


ติดต่อเรา





เว็บไซต์ที่น่าสนใจ




Flag Counter



2019