วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ISSN 3027-8082 (Print)
ISSN 3027-8104 (Online)

วารสารการพัฒนาชุมชน

ปีที่ 7 ฉบับที่ 9
img
บทคัดย่อ การวิจัยแบบบูรณาการผสมผสานนี มีวัตถุประสงค์เพือประเมิน (1) ประสิทธิผลการแก้ไข ภาวะเสียงต่อการขาดสารไอโอดีนของทารกแรกเกิดด้วยการใช้ยาในรูปแบบยาเม็ดเสริมไอโอดีนกับ ยาแคบซูลนํ ามันไอโอดีนในหญิงตั งครรภ์ (2) ความรู้ และความพึงพอใจของผู้ รับบริการ และ ผู้ให้บริการด้านไอโอดีนของจังหวัดหนองบัวลําภู ด้วยการเก็บข้อมูลย้อนหลังในกลุ่มหญิงตั งครรภ์ จากรายงานอนามัยแม่และเด็ก ระหว่าง 2558-2561 จํานวน 4,051 คน และศึกษาติดตาม ประเมินผลจนถึงปี 2562 โดยสัมภาษณ์กลุ่มอาสาสมัครตั งแต่ตั งครรภ์ จนถึงหลังคลอด ทีเข้าร่วม โครงการจํานวน 70 คน แบ่งเป็ นกลุ่มกินยาเม็ดเสริมไอโอดีนระหว่างการตั งครรภ์35 คน และกลุ่ม กินยาแคบซูลนํ ามันไอโอดีนระหว่างการตั งครรภ์35 คน เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึกผู้แทนของแพทย์พยาบาล และบุคลากรสาธารณสุข จํานวน 30 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ 1) สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี ร้ อยละ ค่าตําสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ T-test วิเคราะห์เปรียบเทียบผล 3) การวิเคราะห์เชิงเนื อหา เพืออธิบายผล ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการศึกษา พบว่า มารดามีอายุเฉลีย 24 ปี (SD=6.5338) มีระดับความเข้มข้นของเลือด เมือฝากครรภ์ครั งแรกเฉลีย 36.3%(SD=6.5338) ส่วนทารกแรกเกิดมีนํ าหนักแรกเกิดเฉลีย 3090.882 กรัม (SD=910.241) ค่า Apgar Score ใน 1 นาทีแรกเกิด เฉลีย 9.34 คะแนน (SD= 4.592) และมีค่าประเมินภาวะเสียงต่อการขาดสารไอโอดีน (TSH) เฉลีย 5.46(mU/L) (SD=4.592) ทารกทีเกิดจากมารดากินยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 68.1 กินยาแคบซูลนํ ามันไอโอดีน ร้อยละ 31.9 กลุ่มทารกทีเกิดจากมารดากินยาเม็ดเสริมไอโอดีน มีภาวะเสียงต่อการขาดสารไอโอดีน ร้ อยละ 9.3 (ค่าเฉลีย= 5.59, SD=4.989) ส่วนกลุ่มทีมารดากินยาแคบซูลนํ ามันไอโอดีน มีภาวะเสียงต่อการขาด ไอโอดีน ร้อยละ 3.0 (ค่าเฉลีย= 5.02 (SD=2.932)โดยทั งสองวิธีให้ผลทีแตกต่างกัน (p<0.05) และ เมือประเมินประสิทธิผลการใช้ไอโอดีนในหญิงมีครรภ์ของจังหวัดหนองบัวลําภู พบว่าไม่เกินเกณฑ์ มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข (p<0.0001) นอกจากนี ทั งสองกลุ่มมีความรู้อยู่ในระดับสูง และ ความรู้ เรืองไอโอดีนของทั ง 2 กลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน (P = 0.457) รวมทั งผู้รับบริการ และ นิพนธ์ต้นฉบับ 314 วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที 7 ฉบับที 2 เมษายน – มิถุนายน 2562 ผู้ให้บริการมีความพึงพอใจในรูปแบบการให้ไอโอดีนแก่หญิงตั งครรภ์ เพราะมองเห็นประโยชน์ต่อ การลดภาวะเสียงต่อการขาดสารไอโอดีนของทารกแรกเกิดได้อย่างมีประสิทธิผล.

Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 466 ครั้ง


ติดต่อเรา





เว็บไซต์ที่น่าสนใจ




Flag Counter



2019