ประเสริฐ ประสมรักษ์*, ฤดีวรรณ วงศ์เจริญ**, พรพรรณ ประพัฒน์พงษ์**
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั งนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาระดับความสามารถในการทํากิจวัตร ประจําวัน ความสุข และคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิง และความสัมพันธ์ของปัจจัยดังกล่าว ในผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิง พื นทีจังหวัดอํานาจเจริญ จํานวน 346 คน จากสูตรคํานวณขนาดตัวอย่าง ประมาณเฉลีย กรณีทราบประชากร เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบประเมินความสามารถในการทํากิจวัตร ประจําวัน แบบประเมินดัชนีชี วัดความสุขคนไทยฉบับสั น 15 ข้อ และแบบประเมินคุณภาพชีวิตของ องค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ด้วย Chi-squared test พบว่า อัตราการตอบกลับ ร้ อยละ 99.7 โดยกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิงส่วนใหญ่เป็ น เพศหญิง ร้อยละ 66.1 มีอายุเฉลีย 78.48 ±9.04 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้ อยละ 92.5 มี บุตรหลาน เป็ นผู้ดูแลหลัก ร้อยละ 82.3 โดยระยะเวลาทีมีภาวะพึงพิงส่วนใหญ่น้อยกว่า 5 ปี ร้ อยละ 80.6 ผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิง ส่วนใหญ่เป็ นกลุ่มติดบ้าน ร้ อยละ 78.9 ส่วนทีเหลือเป็ นกลุ่มติดเตียง ร้อยละ 21.2 มีสุขภาพจิตในระดับเท่ากับคนทัวไป ร้ อยละ 97.4 ส่วนทีเหลือมีระดับสุขภาพจิตน้อยกว่า คนทัวไป ร้อยละ 2.6 ส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลียเท่ากับ 78.81±14.59 โดยทั งสีด้านมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลางเมือทดสอบความสัมพันธ์ของความสามารถในการ ทํากิจวัตรประจําวัน ดัชนีชี วัดความสุขของผู้สูงอายุ กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิง พบว่า ดัชนีชี วัดความสุขของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทีมีภาวะพึงพิงอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติทีระดับ p-value=.003 ดังนั น จึงควรจัดกิจกรรมเพือสร้างความสุขแก่ผู้สูงอายุทีมี ภาวะพึงพิง
Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 472 ครั้ง