บทคัดย่อ การศึกษาครั ้งนี ้เป็ นการศึกษา การศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนา (Retrospective study) เพื่อศึกษาค่ารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุจราจรและการได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ของผู้บาดเจ็บที่รับบริการในโรงพยาบาลบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้บาดเจ็บด้วยอุบัติเหตุจราจรที่มารับบริการห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2559 –30 กันยายน 2560 จ านวน 1,842 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบบันทึกเวชระเบียน และแบบบันทึกค่าใช้จ่ายโรงพยาบาล ผลการวิจัย พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร พบว่า ส่วนใหญ่เป็ นเพศ ชาย ร้ อยละ 65.90 รองลงมาเพศหญิง ร้ อยละ 34.10 อายุเฉลี่ย 31.27 ปี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.387 ส่วนใหญ่ไม่ดื่มสุรา ร้ อยละ 70.41 ยังพบว่า ผู้บาดเจ็บเป็ นผู้ขับขี่ ร้ อยละ 35.0 พาหนะส่วน ใหญ่ คือ จักรยานยนต์ ร้ อยละ 81 การได้รับสิทธิการรักษาตามพระราชบัญญัติผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ส่วนใหญ่พบว่า ไม่ได้รับสิทธิ พ.ร.บ. ผู้ประสบภัยจากรถ ร้ อยละ 54.23 รองลงมา ได้รับ สิทธิ พ.ร.บ.ผู้ประสบภัยจากรถ ร้ อยละ 45.77 ค่ารักษาพยาบาลของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร พบว่า ค่ารักษาพยาบาลทั ้งหมดตลอดการรักษา เท่ากับ 2,960,706 บาท เฉลี่ย 1,607.33 บาท (S.D. 2,223.405) ค่ารักษาต ่าสุด เท่ากับ 94 บาท และค่ารักษาสูงสุด เท่ากับ 8,500 บาท ค่า รักษาพยาบาลไม่สามารถเรียกเก็บได้หรือขออนุเคราะห์ เท่ากับ 432,209 บาท เฉลี่ย 234.64 บาท (S.D.840.108) ค่ารักษาพยาบาลที่ผู้รับบริการช าระเอง เท่ากับ 735,060 บาท เฉลี่ย 399.28 บาท (S.D. 1137.709) และ ค่ารักษาพยาบาลที่เบิกจาก พ.ร.บ. ประกันภัยรถ เท่ากับ 1,709,290 บาท เฉลี่ย 927.74 บาท (S.D.1996.330) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่ารักษาพยาบาลกับการ ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล ทั ้งหมดตลอดการรักษา ค่ารักษาพยาบาลที่เบิกจาก พ.ร.บ. ประกันภัยรถค่ารักษาพยาบาลที่ ผู้รับบริการช าระเอง และค่ารักษาพยาบาลไม่สามารถเรียกเก็บได้ หรือขออนุเคราะห์มีความสัมพันธ์
กับการได้รับสิทธิการรักษาตามพระราชบัญญัติผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 อย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติp <0.05 เมื่อเกิดอุบัติเหตุมีเพียงจ านวนน้อยที่ยื่นค าร้ อง ส าหรับผู้ประสบภัยที่รับการรักษาใน โรงพยาบาล อุปสรรคในการใช้สิทธิรับค่าชดเชยของ ผู้ประสบภัย ได้แก่ ความไม่รู้ ว่าตนมีสิทธิ ความ ยากล าบากในการรวบรวมเอกสารเพื่อยื่นขอความชดเชย ความหวาดกลัวความผิดทางกฎหมาย เพราะตนไม่ได้ต่อทะเบียนรถยนต์หรือไม่ได้จ่ายค่าเบี ้ยประกันภัยรถยนต์ ตามกฎหมาย เนื่องจาก ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายผู้ประสบภัยจากรถ และขั ้นตอนยุ่งยากในการขอรับยัง ท าให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ต้นทุนค่ารักษาพยาบาล ค่าเสียเวลาของผู้ประสบเหตุและ ญาติ สูญเสียรายได้ เป็ นต้น
Download PDF Now
ดาวน์โหลดแล้ว 664 ครั้ง